การพัฒนาครูในการสร้างฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อยกระดับคุณภาพการสอน

- ข้อมูลผลการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น-
---------------------------------------------------------------------------
ชื่อแหล่งเรียนรู้ ::
กลุ่มสาระการเรียนรู้::
  ภาษาต่างประเทศ
  ภาษาไทย
  ศิลปะ
  สุขศึกษาและพลศึกษา
  คณิตศาสตร์
  วิทยาศาสตร์
ชั้นปี::
  ป.4   ป.5   ป.6   ม.1   ม.2   ม.3
ชื่อผลงานวิจัย ::
  การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นเป็นฐาน เรื่อง ทำมาหากินถิ่นบ้านเราสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชื่อผู้วิจัย ::
  ภูมิศักดิ์ จอมธิ พรทิพย์ สารทะวงษ์ ณัฐพงค์ เตจ๊ะนัง นวรัตน์ บุญเกิดไวย์
วัตถุประสงค์ ::
  
  1. เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐานเรื่องทำมาหากินถิ่นบ้านเราสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  2. เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคการจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐานเรื่องทำมาหากินถิ่นบ้านเราสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
บทคัดย่อ ::
  

บทคัดย่อ 

          ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้เป็นฐานเรื่องทำมาหากินถิ่นบ้านเรา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สรุปได้ดังนี้

          1.คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ, การเขียนบรรยาย, การเขียนเรียงความ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่านักเรียนชั้น  ม.2/1 มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 29 คน และ ไม่มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน -  คน ส่วน คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 38.28 และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 78.62 ส่วนนักเรียนชั้น ม.2/2 มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 28 คน และ ไม่มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน -  คน ส่วน คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 39.64 และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 76.79

           2. คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การวาดภาพสื่อความหมาย สาระการเรียนรู้ ศิลปะ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่านักเรียนชั้น  ม.2/1 มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 29 คน และ ไม่มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน -  คน ส่วน คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 38.28 และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 75.86 ส่วนนักเรียนชั้น ม.2/2 มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 28 คน และ ไม่มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน -  คน ส่วน คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 36.43 และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 66.79

            3. คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ประเพณีชุมชนลุ่มน้ำกวง สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่านักเรียนชั้น  ม.2/1 มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 28 คน และ ไม่มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 1  คน ส่วน คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 49.66 และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 77.59 ส่วนนักเรียนชั้น ม.2/2 มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 28 คน และ ไม่มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน -  คน ส่วน คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 56.43 และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 80.71

             4.  คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง อาชีพบ้านเรา สาระการเรียนรู้ภาษาจีน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่านักเรียนชั้น  ม.2/1 มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 29 คน และ ไม่มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน -  คน ส่วน คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 58.28และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 77.59 ส่วนนักเรียนชั้น ม.2/2 มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน 28 คน และ ไม่มีพัฒนาการทางการเรียนจำนวน -  คน ส่วน คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 45.71 และผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 65.71

รายละเอียดเพิ่มเติม ::
   
ไฟล์รายงานผลการวิจัย ::
    

Untitled Document
สงวนลิขสิทธิ์โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และโรงเรียนชลประทานผาแตก
เว็บไซต์นี้เหมาะสำหรับการใช้งาน Internet Explorer เวอร์ชั่น 8 ขนาดหน้าจอ 1024 x 768 pixels